ฟันคุดทำให้เกิดการอักเสบ ติดเชื้อ หรือปวดบวม
การเกิดซีสต์และเนื้องอกเกิดขึ้นรอบๆฟันคุด
ส่วนใหญ่ฟันคุดมักจะทำให้เกิดปัญหาในช่องปากต่างๆ เช่น ฟันอักเสบหรือมีการติดเชื้อ โรคเหงือก ถุงน้ำในบริเวณขากรรไกร หรือฟันผุด้านข้าง ดังนั้นแพทย์ส่วนใหญ่จึงแนะนำว่าควรผ่าฟันคุดออก เพื่อป้องกันหรือแก้ไขปัญหาเหล่านี้
ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้
ติดต่อเพื่อนัดปรึกษาทันตแพทย์ ตรวจฟัน
การผ่าฟันคุดเป็นวิธีการรักษาที่หวังผล เพื่อป้องกันปัญหาช่องปากอื่นๆตามมาดังนี้
อาหารรสจัด หรือเผ็ดร้อน เช่น ต้มยำ แกงเผ็ด แกงส้ม ต้มข่าไก่ ต้มแซ่บ ต้มเล้ง เป็นต้น
กินยาแก้ปวด หากมีอาการปวดสามารถกินยาแก้ปวดที่ทันตแพทย์แนะนำ หรืออาจประคบเย็บบริเวณขากรรไกรก็ช่วยบรรเทาอาการปวดได้เช่นกัน
ในผู้สูงอายุ หากพิจารณาแล้วว่า การผ่าตัดฟันคุดนั้น ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า มีโอกาสเกิดการบาดเจ็บของเส้นประสาทฟัน หรือการทะลุของโพรงไซนัส ก็อาจไม่จำเป็นต้องผ่าตัดฟันคุดซี่นั้นออก
ทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฟันคุดที่อยู่ลึกในกระดูก – หากฟันคุดฝังอยู่ลึกในกระดูกขากรรไกรและไม่มีแนวโน้มที่จะขึ้นมา ก็อาจไม่จำเป็นต้องผ่าตัด เพราะการผ่าอาจทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อและเสียหายต่อเส้นประสาทมากกว่า
ฟันคุดใต้เหงือกที่ตั้งตรง ซึ่งแม้ยังไม่ขึ้นแต่มีโอกาสขึ้นได้ตามปกติในเวลาต่อมา อาจใช้วิธีแก้ไขปัญหาตามอาการ เช่น ล้างทำความสะอาดเศษอาหารที่กักอยู่ใต้เหงือก เพื่อลดการอักเสบ หรือกรอมนปุ่มยอดฟันคู่สบที่กัดชนเหงือก แล้วคอยติดตามดูอาการจนฟันซี่สุดท้ายนี้ขึ้นได้ตามปกติ
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ดูทั้งหมด เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง